วันพุธที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2559

มาตราตัวสะกดในภาษาไทย




มาตราตัวสะกดในภาษาไทย

มาตราตัวสะกด  มีทั้งที่ใช้ตัวสะกดตรงแม่ และมาตราตัวสะกดที่ไม่ตรงแม่  การเรียนรู้มาตรา ตัวสะกดต่างๆ ทำให้เขียนและอ่านคำได้ถูกต้อง
               มาตราตัวสะกด คือ พยัญชนะที่ผสมอยู่ข้างหลังคำหรือพยางค์ในแม่ ก กา ทำให้แม่ ก กา       มีตัวสะกด เช่น มี เมื่อประสมกับ  กลายเป็น มีด เป็นต้น
 
             มาตรา ก กา หรือแม่ ก กา คือ คำหรือพยางค์ที่ไม่มีตัวสะกด เช่น มา เสือ ตัว มือ เสีย ดำ ฯลฯ ส่วนมาตราตัวสะกดมีทั้งหมด 8 แม่ คือ กก กด กบ กม เกย เกอว กง กน แบ่งได้ดังนี้ 

                    1. มาตราตัวสะกดตรงแม่ ใช้ตัวสะกดตัวเดียว มี 4 มาตรา คือ
แม่กง       ใช้ สะกด เช่น หา ปลิ สอ ง แร ฯลฯ 
แม่กม       ใช้ สะกด เช่น ล แต้ โส มุ งอ สนา ฯลฯ
แม่เกย      ใช้ สะกด เช่น สา ลอ โปร เฉ ปุ๋ ฯลฯ
แม่เกอว    ใช้ สะกด เช่น แห้ กา เปรี้ย เปล ฯลฯ 

                   2. มาตราตัวสะกดไม่ตรงแม่ มีตัวสะกดหลายตัวในมาตราเดียวกัน เพราะออกเสียงเหมือนตัวสะกดเดียวกัน มี 4 มาตรา คือ
แม่กน      ใช้ น ญ ณ ร ล ฬ สะกด เช่น นา วิญา วาน กาเวลา พระกา ฯลฯ
แม่กก      ใช้ ก ข ค ฆ สะกด เช่น ปั เล วิห เม ฯลฯ
แม่กด      ใช้ ด จ ช ซ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ต ถ ท ธ ศ ษ ส สะกด เช่น แป ตรว  ก๊า บงก กหมาย                                ปราก อิ ครุ วันา เปร โอส บา โกร กระดา ร เลิ ฯลฯ
แม่กบ      ใช้ บ ป ภ พ ฟ สะกด เช่น กลั บา ลา นรัตน์ กรา ฯลฯ











ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น